วันจันทร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2559

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับเห็ด

มนุษยเรารูจัก “เห็ด” และนํามาใชบริโภคเปนอาหารเปนเวลานานแลว มีหลักฐานวา เห็ดเกิดขึ้นบนโลกมานานกวา 130 ลานป กอนที่มนุษยจะเกิดขึ้นบนโลก นอกจากเห็ดจะเปนแหลงอาหารของมนุษยและสัตวแลว เห็ดยังมีบทบาทสําคัญในการรักษาสิ่งแวดลอม โดยชวยในกระบวนการยอยสลายสิ่งตกคางจากซากพืช โดยเฉพาะที่มีสวนประกอบของเซลลูโลส ลิกนิน และมูลสัตว ใหเปนประโยชนตอการเจริญเติบโต เปนการลดปริมาณของเสียที่เกิดจากพืชและสัตวโดยธรรมชาติ ทั้งนี้เนื่องจากเห็ดมีเอ็นไซม์ (Enzyme) หลายชนิดที่ยอยสลายวัสดุ ที่มีโครงสรางของอาหารที่ซับซอน ใหอยูในรูปของสารอาหารที่ สามารถดูดซึมไปใชได เชน เห็ดหอม เห็ดสกุลนางรม เห็ดกระดุม เปนตน นอกจากนี้ยังมีเห็ดที่ตองอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ หรืออาศัยอาหารจากรากพืชอีกหลายชนิดในธรรมชาติ

เห็ดคืออะไร

     เห็ดมีความหมายไดหลายอยางขึ้นอยูกับการใชประโยชน ถาใชเปนอาหารเห็ดจะอยูในกลุมพืชผัก เห็ดเปนพวกที่มีโปรตีนสูง อุดมดวยวิตามินและเกลือแรที่สําคัญหลายชนิด โดยเฉพาะ วิตามิน บี 1 และบี 2 และมีแคลอรี่ต่ำ เห็ดถูกจัดเปนพืชชั้นต่ำกลุมหนึ่ง เนื่องจากเห็ดไมมีคลอโรฟล สังเคราะหแสงไมได ปรุงอาหารไมได ตองอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โดยการเปนปรสิต (Parasite) หรือขึ้นบนรากพืชที่ตายแลว (Saprophyte) หรืออาศัยอาหารจากรากพืชอื่นๆ (Mycorrhiza)
     โดยทั่วไปเห็ดเปนชื่อใช้เรียกราชั้นสูงกลุมหนึ่ง ซึ่งมีวิวัฒนาการสูงกวาราอื่นๆ มีวงจรชีวิตที่สลับซับซอนกวาเชื้อราทั่วไป เริ่มจากสปอรซึ่งเปนอวัยวะหรือสวนที่สรางเซลขยายพันธุ เพื่อตกไปในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมจะงอกเปนใย และกลุมใยรา (Mycelium) เจริญพัฒนาเปนกลุมกอน เกิดเปนดอกเห็ด อยูเหนือพื้นดินบนตนไม ขอนไม ซากพืช มูลสัตว ฯลฯ เมื่อดอกเห็ดเจริญจะสรางสปอร ซึ่งจะปลิวไปงอกเปนใยรา และเปนดอกเห็ดไดอีก หมุนเวียนเชนนี้เรื่อยไป

สวนตางๆของเห็ด (Morphology)

1. หมวก (Cap or pilleus)
เปนสวนที่อยูดานบนสุด มีรูปรางตางๆ กัน เชน โคงนูน รูปกรวย รูปปากแตรรูประฆัง เปนตน ผิวบนหมวกต่างกัน เชน ผิวเรียบ ขรุขระ มีขนเกล็ด มีสีแตกตางกันและอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้

2. ครีบ (Gill or lamelta)
อาจเปนแผนหรือซี่บางๆ อยูใตหมวกเรียงเป็นรัศมีหรือเป็นรู (Pores) ครีบเปนที่เกิดของสปอร

3. กาน (Stalk or stipe)
ปลายขางหนึ่งของกานยึดติดกับดอก หรือหมวกเห็ด มีขนาดรูปรางสีตางกันในแตละชนิดเห็ด ผิวยาวเรียบขรุขระ มีขนหรือเกล็ด เห็ดบางชนิดไมมีกาน เชน เห็ดหูหนู เห็ดเผาะ เปนตน

4. วงแหวน (Ring or annulus)
เปนสวนที่เกิดจากเยื่อบางๆ ที่ยึดขอบหมวกกับกานดอกที่ขาดออกจากหมวกเห็ดบาน

5. เปลือกหรือเยื่อหุมดอก (Volva outer veil)
เปนสวนนอกสุดที่หุมหมวก และกานไวภายในขณะที่ยังเปนดอกออน จะแตกออกเมื่อดอกเริ่มบาน สวนของเปลือกหุมจะยังอยูที่โคน

6. เนื้อ (Context)
เนื้อภายในหมวกหรือกานอาจจะสั้น เหนียวนุ่ม เปราะ เปนเสนใย เป็นรูคอนขางแข็ง

คุณสมบัติของเห็ด

1. เห็ดที่รับประทานได (Edible mushroom)
เห็ดที่รับประทานไดมักมีรสและกลิ่นหอม เนื้อออนนุ่มหรือกรุบกรอบ เชน เห็ดหูหนู เห็ดฟาง เห็ดนางรม เห็ดภูฎาน เห็ดโคน เห็ดตับเตา บางชนิดเพาะเลี้ยงได บางชนิดเพาะเลี้ยงไม่ได้

2. เห็ดมีพิษ (Poisonous mushroom)
     เห็ดมีพิษมีหลายชนิด บางชนิดมีพิษรายแรงถึงตาย เชน เห็ดระโงกหิน บางชนิดมีพิษทําใหเกิด อาการอาเจียนมึนเมา เชน เห็ดรางแห เห็ดปลวกฟาน เห็ดหัวกรวดครีบเขียวออน เห็ดขี้ควาย เปนตน
     การจําแนกเห็ดพิษเป็นไปได้ยาก เนื่องจากเห็ดในสกุลเดียวกัน บางชนิดรับประทานไดบางชนิด เปนพิษถึงตาย เชน เห็ดในสกุลอะมานิตา (Amnita) และเห็ดในสกุลเลปปโอตา (Lepiota) ดังนั้นการเก็บเห็ดที่ไมรูจักมารับประทานจึงไมควรทํา ควรรับประทานเห็ดที่รูจักเทานั้น เนื่องจากความเปนพิษของเห็ดบางชนิดรุนแรงถึงตาย บางชนิดทําใหเกิดอาการอาเจียน หรือทองรวง พิษของเห็ดจะเขาไปทําลายระบบประสาท ตับไตและประสาทตา

ขอควรระวังในการบริโภคเห็ด (เห็ดปา)

1. อยารับประทานเห็ดที่มีสีสวยสด และมีกลิ่นหอมฉุนหรือเอียน
2. อยารับประทานเห็ดที่ยังตมไมสุก
3. หลีกเลี่ยงการรับประทานเห็ดเมื่อผาแลวเปลี่ยนสีหรือมีน้ำเยิ้มซึมออกมา
4. อยาเก็บเห็ดอ่อนหรือเห็ดดอกตูมมารับประทาน เนื่องจากเห็ดในระยะนี้ยังไมสามารถจําแนกไดวา เปนเห็ดพิษหรือไม่
5. จงรับประทานเห็ดที่ทานรูจักและแน่ใจว่าเปนเห็ดที่รับประทานได้จริงๆ
6. อยาทดลองรับประทานเห็ดพิษ เพราะทานไมมีโอกาสรอดแน่

คุณคาทางโภชนาการของเห็ด

1. มีโปรตีนสูงกวาพืชผักชนิดอื่นๆ ยกเวนถั่วเหลือง ถั่วลันเตา
2. มีไขมันที่เปนประโยชนตอรางกาย (Unsaturated fatty acid)
3. มีกรดอมิโนที่จําเปนตอรางกาย
4. มีแคลอรี่ต่ำ
5. มีวิตามินหลายชนิดโดยเฉพาะอยางยิ่ง วิตามิน บี1 บี2 วิตามินซี
6. มีสวนประกอบของเยื่อใย (Fiber) และคารโบไฮเดรท
7. มีแรธาตุที่สําคัญหลายชนิด